TH | EN


วันที่เพิ่มข้อมูล : 18 may 2559
มีผู้เข้าชมทั้งหมด : 877 ครั้ง

หลักเกณฑ์ของ สตม.เกี่ยวกับระยะเวลาที่อนุญาตให้พำนักแล

หลักเกณฑ์ของ สตม. เกี่ยวกับระยะเวลาที่อนุญาตให้พ านักและการขออยู่ต่อในราชอาณาจักร
ของคนต่างด้าวที่ถือหนังสือเดินทางธรรมดาตามประเภทของการตรวจลงตรา
23 กุมภาพันธ์2552 : กองตรวจลงตราฯ
กลุ่มประเทศ ประเภท visa ระยะเวลาที่ได้รับอนุญาตให้พำนัก (ครั้งละไม่เกิน) หลักการของการให้อยู่ต่อ 
1
คนชาติของประเทศ ผ.30
42 ประเทศ 
เข้าโดยไม่มี visa
30 วัน 
(กรณีเดินทางเข้าที่ด่านพรมแดนทางบก
ที่ติดกับประเทศเพื่อนบ้าน จะได้รับอนุญาตให้อยู่ได้ 15 วัน
ยกเว้นคนมาเลเซียที่เดินทางเข้าทางด่านพรมแดน 
ไทย-มาเลเซีย จะได้รับอนุญาตให้อยู่ได้ 30 วัน) 
ไม่ได้
เข้าโดย TS 30 วัน ไม่ได้
เข้าโดย TR 60 วัน ไม่เกิน 30 วัน 
(รวมแล้วไม่เกิน 90 วัน นับจากวันเดินทางเข้า) 
เข้าโดย Non-Immigrant 90 วัน ตามเหตุผลและความจ าเป็น (มากที่สุดไม่เกินครั้งละ 1 ปี) 
เข้าโดย O-A (Long Stay) 1 ปี (รายงานตัวทุก 90 วัน) ครั้งละไม่เกิน 1 ปี 
เข้าโดย Courtesy 90 วัน * ไม่ได้
เข้าโดย ABTC 90 วัน ไม่ได้ 
2
คนชาติของประเทศ 
ที่ไม่ได้อยู่ใน ผ.30
เข้าโดยไม่มี visa ไม่ได้ N/A
เข้าโดย Visa on Arrival (VOA) 15 วัน (เฉพาะประเทศที่มีสิทธิ 20 ประเทศ) ไม่ได้
เข้าโดย TS 30 วัน ไม่ได้
เข้าโดย TR 60 วัน ไม่เกิน 30 วัน 
(รวมแล้วไม่เกิน 90 วัน นับจากวันเดินทางเข้า) 
เข้าโดย Non-Immigrant 90 วัน ตามเหตุผลและความจ าเป็น (มากที่สุดไม่เกินครั้งละ 1 ปี)
เข้าโดย O-A (Long Stay) 1 ปี (รายงานตัวทุก 90 วัน) ครั้งละไม่เกิน 1 ปี 
เข้าโดย Courtesy 90 วัน * ไม่ได้
เข้าโดย ABTC 90 วัน ไม่ได้ - 2 -
กลุ่มประเทศ ประเภท visa ระยะเวลาที่ได้รับอนุญาตให้พ านัก (ครั้งละไม่เกิน) หลักการของการให้อยู่ต่อ 
3
คนชาติของประเทศ 
ที่มีความตกลงทวิภาคี
ในการยกเว้นการตรวจลงตรา 
หนังสือเดินทางธรรมดา
กับไทย 11 ประเทศ 
เข้าโดยไม่มี visa ตามที่ระบุไว้ในความตกลง (30 วัน หรือ 90 วัน) ไม่ได้ 
เข้าโดย TS 30 วัน ไม่ได้
เข้าโดย TR 60 วัน ไม่เกิน 30 วัน 
(รวมแล้วไม่เกิน 90 วัน นับจากวันเดินทางเข้า) 
เข้าโดย Non-Immigrant 90 วัน ตามเหตุผลและความจ าเป็น (มากที่สุดไม่เกินครั้งละ 1 ปี)
เข้าโดย O-A (Long Stay) 1 ปี (รายงานตัวทุก 90 วัน) ครั้งละไม่เกิน 1 ปี 
เข้าโดย Courtesy 90 วัน * ไม่ได้
เข้าโดย ABTC 90 วัน ไม่ได้ 
หมายเหตุ (1) * ในกรณีที่ผู้ถือ Courtesy Visa เป็นพระราชอาคันตุกะ ราชอาคันตุกะ หรือแขกของรัฐบาล จะได้พ านักอยู่จนกว่าจะเสร็จสิ้นภารกิจ
(2) ผ.30 หมายถึงประเทศ/เขตเศรษฐกิจที่คนชาติได้รับสิทธิให้เดินทางเข้าราชอาณาจักรเพื่อการท่องเที่ยวโดยได้รับการยกเว้นการตรวจลงตรา จ านวนรวม 42 ประเทศ
/เขตเศรษฐกิจ ได้แก่ Australia, Austria, Belgium, Brazil, Bahrain, Brunei, Canada, Denmark, Finland, France, Germany, Greece, Qatar, Hong Kong, Iceland, 
Indonesia, Ireland, Israel, Italy, Japan, South Korea, Kuwait, Luxembourg, Malaysia, Monaco, Netherlands, New Zealand, Norway, Oman, Peru, Philippines, 
Portugal, Singapore, Spain, South Africa, Sweden, Switzerland, Turkey, UAE, Great Britain, USA, and Vietnam 
(3) ประเทศ/เขตเศรษฐกิจที่คนชาติมีสิทธิขอ Visa on Arrival (VOA) มี 20 ประเทศ ได้แก่ Bhutan, China (including Taiwan), Cyprus, Czech, Estonia, Hungary, India,
 Kazakhstan, Latvia, Lichtenstein, Lithuania, Maldives, Mauritius, Oman, Poland, Russia, Saudi Arabia, Slovak, Slovenia, and Ukraine (Oman อยู่ใน ผ.30 แล้ว
 และ Russia มีความตกลงยกเว้นการตรวจลงตรากับไทยแล้ว แต่ชื่อยังคงปรากฎใน list ของ VOA ตามประกาศเดิมเนื่องจากยังไม่มีการยกเลิก) 
(4) ประเทศ/เขตเศรษฐกิจที่มีความตกลงยกเว้นการตรวจลงตราหนังสือเดินทางธรรมดากับไทย มี 11 ประเทศ ได้แก่ Argentina (90 วัน), Brazil (90), Chile (90), 
 Hong Kong (30), South Korea (90), Laos (30), Macau (30), Mongolia (30), Peru (90), Russia (30), and Vietnam (30) 
(5) เขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปคที่เข้าร่วมในโครงการ APEC Business Travel Card (ABTC) มีจ านวน 18 เขตเศรษฐกิจ คือ Australia, Brunei, Chile, China, Hong Kong, 
 Indonesia, Japan, South Korea, Malaysia, Mexico, New Zealand, Peru, Philippines, Papua New Guinea, Singapore, Chinese Taipei, Thailand and Vietnam 
(6)  การพิจารณาอนุญาตให้อยู่ต่อของ สตม. จะพิจารณาตามวัตถุประสงค์ของการพ านักและเหตุผลความจ าเป็น รวมถึงสัญชาติของผู้ขอ รายละเอียดตามค าสั่ง 
 สตช. ที่ 777/2551 ลงวันที่ 25 พฤศจิกายน 2551 ทั้งนี้ ในกรณีของการไม่อนุญาตให้อยู่ต่อ ในทางปฏิบัติ สตม. จะให้พ านักอยู่ต่ออีก 7 วัน ส าหรับการเตรียมตัว
 เดินทางออก